Print

กลุ่มบริหารงานบุคคล

ระเบียบโรงเรียนยโสธรพิทยาคม

ว่าด้วย ความประพฤติของนักเรียน 

          อาศัยอำนาจตามความในกฎกระทรวงศึกษาธิการ กำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. 2548(ข้อ 2 ให้โรงเรียนหรือสถานศึกษากำหนดระเบียบว่าด้วยความประพฤติของนักเรียน  และนักศึกษาได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎกระทรวงนี้) และฉบับที่ 2 พ.ศ.2562โรงเรียนยโสธรพิทยาคมจึงออกระเบียบว่าด้วยความประพฤติของนักเรียนนักเรียนโรงเรียนยโสธรพิทยาคมต้องประพฤติตนดังต่อไปนี้

                                       ให้ไว้ ณ วันที่1 พฤษภาคม   พ.ศ. 2562

 

                                              (นายชัชพล  รวมธรรม)

                                     ผู้อำนวยการโรงเรียนยโสธรพิทยาคม

ระเบียบโรงเรียนยโสธรพิทยาคม

ว่าด้วย แนวปฏิบัติการลงโทษนักเรียน

............................................................................................................

อาศัยอำนาจตามความในระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา 

พ.ศ. 2548  โรงเรียนยโสธรพิทยาคม จึงกำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการลงโทษนักเรียนเพื่อถือปฏิบัติดังนี้

ความผิด

 

  1.       ความผิดเล็กน้อย เช่นมาโรงเรียนสาย เข้าเรียนช้าแต่งกายไม่เรียบร้อย ขาดเรียน หนีเรียน ไม่ส่งงานไม่เคารพครู  พูดจาไม่สุภาพ รับประทานอาหารไม่เป็นที่ ใช้รถใช้ถนนผิดระเบียบ ออกนอกบริเวณโรงเรียนโดยไม่ได้รับอนุญาตหรือกระทำความผิดเล็กน้อยไม่เกิน 2 ครั้ง

การลงโทษ

ข้อใดข้อหนึ่งหรือทุกข้อต่อไปนี้

1.    ว่ากล่าวตักเตือน

2.    บันทึกความดี

3.    ตัดคะแนนความประพฤติ

4.    แจ้งผู้ปกครองทราบ

5.    ทำทัณฑ์บน

6.    ทำกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

 

  2.       ความผิดปานกลาง / ความผิดชั้นสูงเช่นลักทรัพย์ ทำลายทรัพย์สิน กรรโชกทรัพย์ เล่นการพนัน ทะเลาะ วิวาท ดื่มสุรา สูบบุหรี่ ชู้สาว เที่ยวเตร่ เสพยาเสพติด ก้าวร้าวครู – อาจารย์ มั่วสุมตามตู้เกม กระทำความผิดเล็กน้อยเกินกว่า 2 ครั้ง ฯลฯ

การลงโทษ

ข้อใดข้อหนึ่งหรือทุกข้อต่อไปนี้

1.    ว่ากล่าวตักเตือน

2.    บันทึกความดี

3.    ตัดคะแนนความประพฤติ

4.    แจ้งผู้ปกครองทราบ

5.    ทำทัณฑ์บน

6.    ทำกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

7.    ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการบริหารโรงเรียน

 

  3.       ความผิดร้ายแรงเช่น ขายยาเสพติด ค้าประเวณี ความผิดขั้นสูงที่ทำให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรงต่อผู้อื่น สถานศึกษา หรือส่วนรวม ความผิดอื่นที่ผิดต่อกฎหมายบ้านเมือง

การลงโทษ

ทุกข้อต่อไปนี้

1.    บันทึกความผิด

2.    แจ้งผู้ปกครองทราบ

3.    แจ้งความดำเนินคดี

4.    ปฏิบัติตามมติของคณะกรรมการบริหารโรงเรียน

 

                                        ให้ไว้  ณ  วันที่ 1  พฤษภาคม  พ.ศ.  2562

 

                                                         (นายชัชพล  รวมธรรม)

   ผู้อำนวยการโรงเรียนยโสธรพิทยาคม

ระเบียบโรงเรียนยโสธรพิทยาคม

ว่าด้วย การให้และการตัดคะแนนความประพฤติ

การทำกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียน

 

         อาศัยอำนาจตามความในระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. 2548 (ข้อ 9 การตัดคะแนนความประพฤติให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤตินักเรียน นักศึกษาของแต่ละสถานศึกษากำหนดและให้บันทึกข้อมูลไว้เป็นหลักฐาน ข้อ 10 ทำกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใช้ในกรณีที่นักเรียนและนักศึกษากระทำความผิดที่สมควรต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม)

         โรงเรียนยโสธรพิทยาคม จึงออกระเบียบว่าด้วยการให้และการตัดคะแนนความประพฤติและการ      ทำกิจกรรม เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักเรียนดังต่อไปนี้

 

คะแนนเต็มทั้งหมด 100 คะแนน

1. แต่งกายผิดระเบียบ

2. มาสาย หักครั้งละ 5 คะแนน

3. เข้าเรียนช้า หักครั้งละ 2 คะแนน

4. ไม่เข้าร่วมกิจกรรมหน้าเสาธง หักครั้งละ 3 คะแนน

5. หนีเรียน/หลบเรียน หักครั้งละ 5 คะแนน

6. ออกนอกบริเวณโรงเรียนโดยไม่ได้รับอนุญาต หักครั้งละ 5 คะแนน

7. ออกนอกบริเวณโรงเรียนโดยได้รับอนุญาต แต่ไม่กลับเข้ามาในโรงเรียน หักครั้งละ 5 คะแนน

8. เข้าหรือออกโรงเรียนโดยการปีนรั้วโรงเรียน หักครั้งละ 5 คะแนน

9. ขาดโรงเรียน หักครั้งละ 5 คะแนน

10. ไม่พกบัตรประจำตัวนักเรียน หักครั้งละ 5 คะแนน

11. ภาวะเสี่ยงตามกฎกระทรวงปี 2548

12. การแสดงความเคารพ

13.  การปฏิบัติตามกฎจราจรในโรงเรียน

 

14. การใช้โทรศัพท์มือถือในโรงเรียน

15. มารยาทในการรับประทานอาหาร

 

16. มารยาทในการฟังและพูด

17. การรักษาความสะอาด

18. มาตรการดำเนินการ

 

คะแนนการทำกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

                             ให้ไว้ ณ วันที่1   พฤษภาคม  พ.ศ.  2562

 

                                        (นายชัชพล  รวมธรรม)

                                       ผู้อำนวยการโรงเรียนยโสธรพิทยาคม

ระเบียบโรงเรียนยโสธรพิทยาคม

ว่าด้วย  การกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์

การวัดและการประเมินผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 

          อาศัยอำนาจตามความในข้อ 3.6.3 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 สถานศึกษาต้องร่วมกับชุมชนกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อทราบเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน      ด้านคุณธรรม  จริยธรรมและค่านิยม  ในแต่ละภาคเรียนครูผู้สอนต้องจัดให้มีการวัดและประเมินผลรวม      ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน เพื่อปรับปรุง พัฒนาและการส่งต่อ ควรประสานสัมพันธ์กับผู้เรียน  ผู้ปกครอง และผู้เกี่ยวข้องร่วมกันประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้เป็นไปตามที่สถานศึกษากำหนด   โรงเรียนยโสธรพิทยาคมจึงขอกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การวัดและการประเมินผลคุณลักษณะ        อันพึงประสงค์ของนักเรียน  มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนโรงเรียนยโสธรพิทยาคม

ดัชนีวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์

การวัดและการประเมินผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์

สิ่งที่วัด

วิธีการวัด

          วัดโดยการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียน

ผู้ดำเนินการวัด

5.  คณะกรรมการงานกิจการนักเรียน            6.  หัวหน้ากลุ่มสาระฯ    7.  คณะกรรมการนักเรียน

เครื่องมือที่ใช้วัด

          ใช้แบบสังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์การวัด

คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์คะแนนเต็ม  100 คะแนน

          ได้คะแนน 90 – 100คะแนน                ระดับดีมาก

          ได้คะแนน 85 – 89  คะแนน                ระดับดี

          ได้คะแนน 80 – 84  คะแนน                ระดับปานกลาง

          ได้คะแนนต่ำกว่า 80    คะแนน             ควรปรับปรุงแก้ไข

          การหักคะแนนพฤติกรรมและการให้คะแนนการทำกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เป็นไปตามระเบียบของโรงเรียนยโสธรพิทยาคม  ว่าด้วยการหักคะแนนความประพฤติและการให้คะแนนการทำกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  พุทธศักราช 2562

การประเมิน

ผู้ทำการประเมินประกอบด้วย

4.   หัวหน้ากลุ่มสาระ         5.  ครูกิจการนักเรียน

การประเมินแบ่งออกเป็น4  ขั้นตอน

ครูประจำชั้น ครูเวร  ครูปกครองกลุ่มสาระ  คณะกรรมการกิจการนักเรียน และหัวหน้าชั้นเรียน มาประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนแต่ละคน แต่ละห้อง แต่ละกลุ่มสาระ แล้วสรุปผลแจ้งไปยัง ครูประจำชั้น ครูผู้สอน ครูปกครองกลุ่มสาระ และหัวหน้ากลุ่มสาระทราบในวันจันทร์ของสัปดาห์ถัดไป

เพิ่มการสำรวจว่ามีนักเรียนมากน้อยเท่าใดที่ยังไม่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและไม่มาดำเนินการขอทำกิจกรรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อแก้คะแนนที่ถูกหัก

          2.2 นักเรียนยื่นแบบขอประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของตนเองผ่านความเห็นชอบของครูประจำชั้น ครูปกครองกลุ่มสาระ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้และคณะกรรมการกิจการนักเรียนถ้าไม่ผ่านต้องไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจนมีคะแนนผ่านเกณฑ์ที่กำหนดการยื่นขอประเมินตนเอง ต้องเริ่มทำในสัปดาห์ที่ 3 และให้เสร็จสิ้นในสัปดาห์สุดท้ายของแต่ละเดือน

     3.  การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รวมรายภาค มีแนวปฏิบัติ เช่นเดียวกับการประเมินรายเดือน

โดยนำเอาแบบสรุปรายเดือน มาประเมินรวมสรุปผลตัดสินคะแนนให้ระดับคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์

แจ้งไปยังครูผู้สอน ครูประจำชั้นและทำให้เสร็จก่อนสอบปลายภาค 1สัปดาห์

     4.  การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รวมรายปี มีแนวปฏิบัติ เช่นเดียวกับการประเมินรายภาค      โดยนำเอาแบบสรุปรายภาคมาประเมินรวมสรุปผลตัดสิน

          4.1 ให้ระดับคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์แจ้งไปยังฝ่ายวิชาการ ครูประจำชั้น และทำให้เสร็จสิ้นก่อนสอบปลายภาค 1 สัปดาห์

          4.2 แจ้งรายชื่อผู้ที่ได้รับใบรับรองความประพฤติพร้อมกำหนดวันในการรับใบรับรองความประพฤติและต้องทำให้เสร็จก่อนปิดภาคเรียน 1สัปดาห์

เกณฑ์การผ่าน

ความประพฤติจากทางโรงเรียน มีเกณฑ์การวัดดังนี้

          ได้คะแนน   90 – 100   คะแนน           ความประพฤติเรียบร้อยดีมาก

          ได้คะแนน   85 – 89     คะแนน           ความประพฤติเรียบร้อย

          ได้คะแนน   80 – 84     คะแนน           ความประพฤติพอใช้

ใบรับรองความประพฤติต้องได้รับความเห็นชอบจากผู้อำนวยการ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้อำนวยการโรงเรียนยโสธรพิทยาคมเท่านั้น

ได้คะแนน 90 – 100     คะแนน           ได้ระดับคะแนน  3   ดีเยี่ยม

ได้คะแนน 85 – 89       คะแนน           ได้ระดับคะแนน  2   ดี

ได้คะแนน 80 – 84       คะแนน           ได้ระดับคะแนน  1   ผ่าน

ได้คะแนนต่ำกว่า 80      คะแนน           ได้ระดับคะแนน  0   ไม่ผ่าน

คุณธรรม  จริยธรรม

การดำเนินการแก้คุณลักษณะอันพึงประสงค์

          การแก้คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ แบ่งเป็น 2 กรณีดังนี้

คะแนนแล้วจะได้รับผลการประเมิน ระดับ 1-3 (ตามระดับของคะแนนที่นักเรียนแก้ไข)

ประเมิน 1-2 เท่านั้น

                    ให้ไว้ ณ วันที่1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

 

         

 (นายชัชพล  รวมธรรม)

           ผู้อำนวยการโรงเรียนยโสธรพิทยาคม

แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทำความดีเพื่อได้คะแนน/แก้คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์

เพื่อให้การดำเนินการเกี่ยวกับการทำความดีเพื่อได้คะแนน/แก้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 

เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โรงเรียนยโสธรพิทยาคมจึงขอกำหนดระเบียบปฏิบัติ เกี่ยวกับการทำความดี เพื่อได้คะแนน แก้คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์   ดังนี้

          ยโสธรพิทยาคม

ความดีหลักเกณฑ์และวิธีการแก้คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เกณฑ์การจบหลักสูตรของช่วงชั้น

การดำเนินการแก้ระดับคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์

การดำเนินการแก้ระดับคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์แบ่งออกเป็น 3 กรณี ดังนี้

กรณีที่ 1 นักเรียนที่ถูกหักคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไม่เกิน 20 คะแนน เมื่อทำความดี นำคะแนนมา 

          หักล้าง 100 คะแนน แล้วมีคะแนนคงเหลือ

                    80 – 84                   ได้ระดับคะแนน           1

                                      85 – 89                   ได้ระดับคะแนน           2

                                      90 – 100        ได้ระดับคะแนน           3

กรณีที่ 2 ถ้านักเรียนที่ถูกหักคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์เกิน 20 คะแนน เมื่อทำความดี นำคะแนนมา

หักล้าง 100 คะแนน แล้วมีคะแนนคงเหลือ

                                       80 – 89                   ได้ระดับคะแนน           1

                                       90 ขึ้นไป         ได้ระดับคะแนน           2

กรณีที่ 3 นักเรียนได้ระดับคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็น 0 (ศูนย์) แบ่งออกเป็น 2 กรณี คือ

          3.1 มีคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ต่ำกว่า 80 คะแนน การดำเนินการแก้ระดับคุณลักษณะ      อันพึงประสงค์ให้เป็นไปตามกรณีที่ 2

          3.2 ไม่ส่งแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การแต่งกาย เครื่องแบบนักเรียนตามกำหนด

เมื่อมาดำเนินการแก้ระดับคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้ดำเนินการการดังนี้

          3.2.1 หักคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์  50 คะแนน

          3.2.2 ให้ทำความดี เพื่อแก้คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 50 คะแนนที่ถูกหักในข้อ 3.2.1 ก่อนแล้วจึงไปพิจารณาคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่มีอยู่เดิมว่ามีคะแนนคงเหลือเท่าใดให้ดำเนินการแก้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามกรณีที่ 1 หรือ กรณีที่ 2 แล้วแต่กรณี

              ให้ไว้  ณ วันที่   1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

 

                     (นายชัชพล  รวมธรรม)

                       ผู้อำนวยการโรงเรียนยโสธรพิทยาคม

ระเบียบโรงเรียนยโสธรพิทยาคม

ว่าด้วยการแต่งกายเครื่องแบบนักเรียนโรงเรียนยโสธรพิทยาคม

1. เครื่องแบบนักเรียนชาย

    เสื้อ

พอเหมาะกับแขนของนักเรียน

ผ่าอกตลอด มีสาบนอกที่อก ขนาดกว้าง 2.5 -3 เซนติเมตร

เซนติเมตร

ขนาด 1.7 เซนติเมตร ด้วยด้ายหรือไหมสีน้ำเงินเข้ม ที่อกเสื้อด้านขวาเหนือราวนม

MEP )  ที่อกเสื้อด้านขวาเหนือราวนม ปักตัวอักษร ย.ส. ขนาด 1.8 -2.0 เซนติเมตร และใต้ตัวอักษร ย.ส.  ปักชื่อ – นามสกุลนักเรียนเป็นภาษาอังกฤษ  ขนาด 1.7 เซนติเมตร ด้วยด้ายหรือไหมสีน้ำเงินเข้ม  และที่กระเป๋าเสื้อ  ด้านซ้าย  ปักตราสัญลักษณ์โรงเรียน ขนาดสูง 1.3 – 1.5 นิ้ว และใต้ตราสัญลักษณ์โรงเรียน  ปัก MEP ขนาด  1.7 เซนติเมตร ด้วยด้ายหรือไหมสีน้ำเงินเข้ม

นักเรียนห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ฯ (Gifted)ที่อกเสื้อด้านขวาเหนือราวนม  ปักตัวอักษร ย.ส. ขนาด 1.8 – 2.0 เซนติเมตร และใต้ตัวอักษร ย.ส. ปักชื่อ – นามสกุลนักเรียนเป็นภาษาไทย ขนาด 1.7  เซนติเมตร ด้วยด้ายหรือไหมสีน้ำเงินเข้มและที่กระเป๋าเสื้อด้านซ้าย  ปักตราสัญลักษณ์โรงเรียน ขนาดสูง 1.3 – 1.5 นิ้วและใต้

ตราสัญลักษณ์โรงเรียน ปัก Gifted ขนาด 1.7  เซนติเมตร ด้วยด้ายหรือไหมน้ำเงินเข้ม

ที่อกเสื้อด้านขวาเหนือราวนม ปักตัวอักษร ย.ส. ขนาด 1.8 – 2.0 เซนติเมตร และ   ใต้ตัวอักษร ย.ส. ปักชื่อ – นามสกุลนักเรียนเป็นภาษาไทย ขนาด 1.7  เซนติเมตร ด้วยด้ายหรือไหม   สีน้ำเงินเข้มและที่กระเป๋าเสื้อด้านซ้าย  ปักตราสัญลักษณ์โรงเรียน ขนาดสูง 1.3 – 1.5 นิ้วและ  ใต้ตราสัญลักษณ์โรงเรียน ปัก AP ขนาด 1.7 เซนติเมตร ด้วยด้ายหรือไหมน้ำเงินเข้ม

กางเกง

หูเป็นเส้นตรงขนาดกว้าง 1 เซนติเมตร

กว้าง 5 เซนติเมตร ผ่าตรงส่วนหน้าโดยวิธีติดซิบซ่อนไว้ข้างใน

เป็นลักษณะจีบออก ไม่มีกระเป๋าหลัง

เข็มขัด

เป็นโลหะสีทอง รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขอบมน ชนิดหัวกลัดมีปอกหนังสีเดียวกันกับเข็มขัด ขนาดกว้าง 1.5 เซนติเมตร สำหรับสอดปลายเข็มขัด

เข็มขัด

รองเท้า

ถุงเท้า

ถุงเท้าสีน้ำตาลชนิดสั้น ไม่มีสัญลักษณ์หรือลวดลายใดๆ

ทรงผม

ด้านหน้าและกลางศีรษะ ให้มีความเหมาะสมและมีความเรียบร้อย

 

2. เครื่องแบบนักเรียนหญิง

2.1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

เสื้อ

แบบคอกลมกะลาสี แขนสั้น จีบด้านหน้าและหลัง ด้านละ 3 จีบ ขนาดของเสื้อให้พอเหมาะกับรูปร่าง ผูกด้วยผ้าผูกคอชายสามเหลี่ยม เงื่อนกะลาสี สีน้ำเงินหรือ สีเดียวกันกับกระโปรงและต้องมีเสื้อบังยกทรง หรือเสื้อคอกระเช้า สวมทับชั้นใน

1.7 เซนติเมตร ด้วยด้ายหรือไหมสีน้ำเงินเข้มที่อกเสื้อด้านขวา

ตัวอักษร ย.ส. ปักชื่อ – นามสกุลนักเรียนเป็นภาษาไทย ขนาด 1.7  เซนติเมตร ด้วยด้ายหรือไหมสีน้ำเงินเข้มที่อกเสื้อด้านขวาเหนือราวนม ปักตราสัญลักษณ์โรงเรียน ขนาดสูง 1.3 – 1.5 นิ้ว และใต้ตราสัญลักษณ์โรงเรียน ปัก Gifted ขนาด 1.7  เซนติเมตร ด้วยด้ายหรือไหมน้ำเงินเข้มที่อกเสื้อด้านซ้าย

ด้านขวาเหนือราวนม ปักตัวอักษร ย.ส. ขนาด 1.8 – 2.0 เซนติเมตร และ   ใต้ตัวอักษร ย.ส. ปักชื่อ – นามสกุลนักเรียนเป็นภาษาไทย ขนาด 1.7  เซนติเมตร ด้วยด้ายหรือไหม   สีน้ำเงินเข้มและที่กระเป๋าเสื้อด้านซ้าย  ปักตราสัญลักษณ์โรงเรียน ขนาดสูง 1.3 – 1.5 นิ้วและ  ใต้ตราสัญลักษณ์โรงเรียน ปัก AP  ขนาด 1.7  เซนติเมตร ด้วยด้ายหรือไหมน้ำเงินเข้ม

กระโปรงใช้สีน้ำเงิน  หรือสีกรมท่าเท่านั้น แบบสุภาพ พับจีบข้างละ 3 จีบ ทั้งด้านหน้าและด้านหลังความยาวกระโปรงเมื่อวัดจากใต้เข่าแล้วไม่เกิน 2 นิ้วเป็นกระโปรงปลายบานจีบลึกห้ามใช้กระโปรงปลายสอบ

รองเท้า ใช้รองเท้าหนังสีดำแบบหุ้มส้น หุ้มปลายเท้า มีสายรัดหลังเท้า ในกรณีเรียนพลศึกษา ให้ใช้รองเท้าผ้าใบหุ้มส้นสีขาว มีรูร้อยเชือก 5- 7รู ทั้งเชือกและตาไก่สีขาวไม่มีลวดลายใดๆ เมื่อสวมรองเท้า   ต้องผูกเชือกให้เรียบร้อย และไม่เหยียบส้นรองเท้า

ถุงเท้าใช้ถุงเท้ายาวสีขาว แล้วพับลงมาไว้ที่ข้อเท้า ห้ามใช้ถุงเท้าแบบสั้น

ทรงผม 

 

 

2.2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

เสื้อ

คอเชิ้ต ผ่าอกตลอด มีสาบนอกที่อก ขนาดกว้าง 2.5 – 3เซนติเมตรแขนสั้นจีบด้านหน้าและด้านหลัง

ด้านละ 3จีบเสื้อให้พอเหมาะกับรูปร่าง และต้องมีเสื้อบังทรง หรือเสื้อคอกระเช้า สวมทับชั้นใน

ขนาด 1.7 เซนติเมตร ด้วยด้ายหรือไหมสีน้ำเงินเข้มที่อกเสื้อด้านขวา

ที่อกเสื้อด้านขวาเหนือราวนม ปักตราสัญลักษณ์โรงเรียน ขนาดสูง 1.3 – 1.5 นิ้ว และใต้ตราสัญลักษณ์โรงเรียน ปัก Giftedขนาด 1.7  เซนติเมตร ด้วยด้ายหรือไหมน้ำเงินเข้มที่อกเสื้อด้านซ้าย

กระโปรง  ใช้ผ้าสีน้ำเงิน  หรือสีกรมท่าเท่านั้น แบบสุภาพ พับจีบข้างละ  3 จีบ ทั้งด้านหน้าและด้านหลังความยาวของกระโปรงเมื่อวัดจากใต้เข่าแล้วไม่เกิน  2 นิ้วเป็นกระโปรงปลายบานจีบลึกห้ามใช้กระโปรงปลายสอบ

เข็มขัดใช้เข็มขัดหนังสีดำ หัวรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าชนิดหัวกลัด

รองเท้า  ใช้รองเท้าหนังสีดำแบบหุ้มส้น หุ้มปลายเท้า มีสายรัดหลังเท้า ในกรณีเรียนพลศึกษา ให้ใช้รองเท้าผ้าใบหุ้มส้นสีขาว มีรูร้อยเชือก 5- 7 รู  ทั้งเชือกและตาไก่สีขาว ไม่มีลวดลายใดๆ เมื่อสวมรองเท้าต้องผูกเชือกให้เรียบร้อย และไม่เหยียบส้นรองเท้า

ถุงเท้า   ใช้ถุงเท้ายาวสีขาว แล้วพับลงมาไว้ที่ข้อเท้า ห้ามใช้ถุงเท้าแบบสั้น

ทรงผม 

 (2)   ย้อมสีผมให้ผิดไปจากเดิม
(3)   การกระทำอื่นใดซึ่งไม่เหมาะสมกับสภาพการเป็นนักเรียน

3. เครื่องแบบพลศึกษา

เสื้อนักเรียนทุกระดับชั้นทั้งชายและหญิง ใช้เสื้อสีแดงตามที่โรงเรียนกำหนด ปักชื่อ – นามสกุล นักเรียนขนาด 1.7 เซนติเมตร ด้วยด้ายหรือไหมสีขาวที่อกเสื้อด้านขวา

กางเกงนักเรียนทุกระดับชั้นทั้งชายและหญิง ใช้กางเกงวอร์มสีดำขายาวไม่มีลวดลาย

รองเท้า (ชาย) ใช้รองเท้าผ้าใบหุ้มส้นสีน้ำตาล มีรูร้อยเชือก 5 -7 รู ทั้งเชือกและตาไก่สีน้ำตาลไม่มีลวดลายใดๆ เมื่อสวมรองเท้าต้องผูกเชือกให้เรียบร้อย และไม่เหยียบส้นรองเท้า

รองเท้า (หญิง) ใช้รองเท้าผ้าใบหุ้มส้นสีขาวมีรูร้อยเชือก 5-7 รู ทั้งเชือกและตาไก่สีขาวไม่มีลวดลายใดๆ เมื่อสวมรองเท้าต้องผูกเชือกให้เรียบร้อย และไม่เหยียบส้นรองเท้า

4. เครื่องแบบกิจกรรม(เครื่องแบบประจำวันศุกร์ )

นักเรียนทุกระดับชั้นทั้งชายและหญิง ใช้เสื้อตามสังกัดคณะสีที่โรงเรียนกำหนด ปักชื่อ – นามสกุล

นักเรียน ขนาด 1.7 เซนติเมตร ด้วยด้ายหรือไหมสีน้ำเงิน ที่อกเสื้อด้านขวา นักเรียนชาย ให้ใส่เสื้อสีกับกางเกงเครื่องแบบนักเรียนชาย นักเรียนหญิงให้ใส่เสื้อสี กับกระโปรงเครื่องแบบนักเรียนหญิง

ในกรณีเรียนพลศึกษาให้ใส่กับกางเกงวอร์มสีดำขายาว ไม่มีลวดลาย

5. การปักจุดเสื้อเครื่องแบบนักเรียนเพื่อแสดงระดับชั้นและคณะสี

5.1 ปักจุดกลม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.3 เซนติเมตร

5.2 ปักจุดสี ตามสังกัดคณะสี บนปกเสื้อด้านขวา จำนวน 1 จุด ดังนี้

5.2.1) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สีชมพู

5.2.2)  กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สีแสด

5.2.3)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ สีเหลือง

5.2.4)  กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม และกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ  สีฟ้า

5.2.5)  กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา กิจกรรมพัฒนา

ผู้เรียน (แนะแนว)  สีเขียว

    5.3  ปักจุดระดับชั้น ตามระดับชั้นที่เรียน บนปกเสื้อด้านซ้ายดังนี้

5.3.1)  ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ปักด้วยจุดสีน้ำเงิน   จำนวนจุดตามระดับชั้นคือ

ม. 1 ปัก 1 จุด             ม. 2  ปัก 2 จุด            ม. 3  ปัก 3 จุด

5.3.2) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ปักด้วยจุดสีแดง จำนวนจุดตามระดับชั้น คือ

ม. 4 ปัก 1 จุด             ม. 5  ปัก 2 จุด            ม. 6  ปัก 3 จุด

5.4  ในกรณีที่ปักมากกว่า 1 จุด ให้มีระยะห่างระหว่างจุด  0.5 เซนติเมตร

                   ให้ไว้  ณ  วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2564

 

(นายชัชพล  รวมธรรม)

ผู้อำนวยการโรงเรียนยโสธรพิทยาคม

ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการอนุญาตให้นักเรียนออกนอกบริเวณโรงเรียน

 

 

          เพื่อให้การอนุญาตให้นักเรียนออกนอกบริเวณโรงเรียนในเวลาราชการ มีความชัดเจน ถูกต้องและสอดคล้องกับพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กและเยาวชน  พุทธศักราช 2546 โรงเรียนยโสธรพิทยาคม จึงกำหนดระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการอนุญาตให้นักเรียนออกนอกบริเวณโรงเรียนในเวลาราชการ ดังนี้

นั้นๆ จะอนุญาตโดยทั่วไปมิได้

ตั้งแต่เวลา 07.00 -15.20 น. ยกเว้นในเวลาที่นักเรียนกำลังเรียนอยู่กับครูผู้สอนประจำวิชา

ในคาบนั้นๆ จะอนุญาตมิได้

ครบถ้วน

ยามโดยปฏิบัติตามขั้นตอนการขอออกนอกบริเวณโรงเรียนที่โรงเรียนกำหนด

ออกนอกบริเวณโรงเรียนที่โรงเรียนกำหนด

คะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ครั้งละ 50 คะแนน ยกเว้นกรณีผู้ปกครองมารับกลับบ้าน หรือเข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาล หรือ เหตุสุดวิสัยอื่นๆ จะต้องแจ้งให้ครูผู้อนุญาตทราบ

ให้ไว้  ณ  วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

 

 (นายชัชพล  รวมธรรม)

 ผู้อำนวยการโรงเรียนยโสธรพิทยาคม

powered by social2s